สรุป “ขึ้น ดอกเบี้ยเงินฝาก ไม่ขยับดอกกู้ กระทบแบงค์??”

หลังจากที่ SCB และ KBANK ประกาศขึ้น ดอกเบี้ยเงินฝาก จะส่งผลกระทบอย่างไรต่อหุ้นกลุ่ม bank บ้าง
วันนี้ผมก็ได้สรุปจากเอเชียพลัส กดที่หัวข้อเพื่อดูเต็มๆได้ครับ
ใครที่ขี้เกียจ ผมก็สรุปเอาไว้แล้ว หวังว่าคงจะเป็นประโยชน์นะครับ 🙂
ASP Hot Topics: วิเคราะห์ “ขึ้นดอกฝาก ไม่ขยับดอกกู้ กระทบแบงค์??”
SCB และ KBANK ขึ้น ดอกเบี้ยเงินฝาก 0.25% เฉพาะเงินฝากประจำ 3,6,12,24,36 เดือน
เฉพาะลูกค้าบุคคลธรรมดา วงเงินฝากไม่เกิน 5 ล้านบาท bank เล็กจำเป็นต้องขึ้นดอกเบี้ยเงินฝากตาม
เพื่อระดมเงินจากลูกค้ารายย่อยเพิ่มขึ้น
โครงสร้างเงินฝากของแต่ละ bank
มีการปรับเพิ่มดอกเบี้ยในส่วนเงินฝากประจำ 37% ไม่ถึง 50% ต้นทุนของ bank ไม่ได้เพิ่มขึ้นซะดีเดียว
โดยโครงสร้างเงินฝากประจำของแต่ละธนาคารมีดังนี้
SCB 32%
KBANK 22%
BBL 48% สูงกว่า อุตสาหกรรม(ที่ 37%)
KTB 26%
ถ้าขยับออมทรัพย์เงินกู้ต้องขยับตามทันที ไม่งั้นจะมีผลต่อ NIM ของ bank
bank ใหญ่ BBL กระทบสูงสุด
ในรอบปรับอัตราดอกเบี้ย bank ชาติส่งสัญญาณก่อน
แต่สุดท้ายดอกเบี้ยน่าจะปรับขึ้นทั้งหมด ตอนนี้ต้นทุนbank ขึ้นไปแล้ว
Step การขึ้นดอกเบี้ย
เงินฝากประจำบุคคลธรรมดา-> เงินฝากประจำนิติบุคคล->เงินฝากออมทรัพย์ -> เงินกู้
Bond yield curv สะท้อนอัตราดอกเบี้ยในตลาดเงิน
นำร่องขึ้นตั้งแต่ปีที่แล้ว bank ไม่ได้ใช้แหล่งเงินจากเงินฝากเพียงอย่างเดียวแต่ยังออกหุ้นกู้ด้วย
จะเห็นได้ว่าตั้งแต่ Q1/2018 เป็นต้นมา bank เริ่มปรับแล้ว
หุ้นกู้ 1 ปี ดอกเบี้ย 1.75% ขณะที่เงินฝากประจำ 1 ปี ต่ำกว่า 1.x ต้นๆ (เงินฝาก 36 เดือน อัตราดอกเบี้ย 0.9-1.6%)
เทียบกับหุ้นกู้ คนไม่อยากฝาก bank ลงทุนในหุ้นกู้แทน
bank จึงต้องเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก เพื่อลด gap ผลตอบแทน ให้ความแตกต่างให้ใกล้เคียงกัน
โครงสร้างเงินฝากรวมแบ่งตามประเภทผู้ฝากเงิน

ใน 37% ของเงินฝากประจำแบ่งเป็น
เงินฝากบุคคลธรรมดา 55% ของเงินฝากรวม
ภาพรวม Yield, Cost of fund และ NIM
ในทางปฏิบัติต้นทุนขึ้นไปตั้งแต่ปีที่แล้ว (เส้นสีส้ม)
เริ่มขยับดอกเบี้ยของลูกค้าบางกลุ่ม
(เส้นสีฟ้า) bank ได้ปรับดอกเบี้ยเงินกู้ได้
จะเห็น yield ของ bank เพิ่มขึ้นก่อนหน้านี้แล้ว
ทั้งๆที่ bank ยังไม่ได้ประกาศปรับอะไร
NIM 3% -> 3.1%
สรุป ผลกระทบต่อ NIM และ กำไรสุทธิ

สรุปการประกาศรอบนี้ กระทบ 5 bpp ไม่กระทบ NIM กระทบเชิง sentiment มากกว่า
รอบนี้ KBANK กระทบน้อยที่สุด
โครงสร้างสินเชื่อ VS เงินฝากและเงินกู้ยืม
bank มีสินเชื่อลอยตัว 50%
มีเงินฝากลอยตัว 59%
เงินฝากรวม มากกว่าสินเชื่อ bank มีสภาพคล่องส่วนเกิน 7-8 แสนล้านบาท
สภาพคล่องที่เกินเอาไปทำอะไรได้บ้าง
1.เอาไปลงทุนพันธบัตรและตราสารหนี้ 2.เอาไปปล่อยกู้ในตลาดเงินให้ bank อื่นๆ
bank 2 กรุง กรุงไทย(KTB) กับกรุงเทพ(BBL)
ได้ผลบวกจากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยสินเชื่อเพื่อ offset ต้นทุนเงินฝากไม่มากเท่า
ผลจากการเป็น net lender ได้ตลาดเงิน เนื่องจาก 2 bank นี้เป็น bank ใหญ่ มีสภาพกคล่อง
ส่วนเกินสูง
Key Factors ปี 2562
Key factor ของการลงทุนกลุ่มนี้
คาดกำไรโต 5%
สินเชื่อรายย่อย NPL ไม่กระจุกตัวเหมือนรายใหญ่
SME เฉลี่ยกันในแต่ละอุตสาหกรรม
คำถามเพิ่มเติม
1) กว่าจะขึ้นดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ทั้งหมดต้องใช้เวลาเท่าไร?
– ขึ้นกับการปรับดอกเบี้ยของ กนง. อัตราดอกเบี้ยเชิงนโยบาย
ในปีนี้น่าจะเห็นการปรับดอกเบี้ย 1-2 ครั้ง (ปีนึงประชุม 8 ครั้ง)
ถ้าขยับรอบนี้ไปหมดแน่นอน ตอนนี้ปรับใส้ในของอัตราดอกเบี้ยก่อน
2) การลงทุนด้าน IT ของ SCB จะจบในปีนี้?
-ภาระการลงทุนน่าจบจบในปีนี้ ลท.ไปทั้งหมด 40,000 ล.
มีการทยอยตัดค่าเสื่อมไปเรือ่ยๆ
ค่าใช้จ่ายในการลงทุน
1.ซื้อ asset ตัดค่าเสื่อม ปกติตัด 5-10 ปี
2.expense ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
หุ้นเด่น
KBANK
ราคาปรับตัวลดลงเรื่อยๆ
ปัจจุบัน คาด ROE 10.2% เหนือกว่า BBL
ก่อนหน้านี้เคยได้มากกว่านี้ราคาเลยมีพรีเมียม
ได้รับผลกระทบจาก
1.ฟรีค่าธรรมเนียมในช่องทางออนไลน์ KBANK เป็นเบอร์ 1 ได้ผลกระทบมากกว่า bank อื่น
2.นโยบายปรับกรอบบนของ NPL อยากจัดการ NPL แทนที่จะขายไปในราคาถูก
bank อื่นๆก็มีนโยบายนี้
รักษา ROE เหนือกว่า ฺBBL และราคาตกลง น่าจะเป็นโอกาส
ค่าธรรมเนียมกับ NPL คนรับรู้ข่าวไปแล้ว
จากการกังวลลูกค้า SME
สัดส่วนสินเชื่อ SME 40% มากที่สุดในบรรดา bank ใหญ่(ใกล้เคียงกับ TMB)
NPL ที่ 3.5%
ความกังวลสินเชื่อชั้น SPECIAL Mention LOAN (ค้างเกิน 1เดือน แต่ไม่เกิน 3 เดือน)
ทั้งอุตสาหกรรม 3% Kbank 2.1% มี bank ที่เยอะกว่า
สัดส่วนรายได้ค่าธรรมเนียมอยู่ระดับบนตลอดที่ 25% (ดูภาพบนด้านขวามือ)
หลังประกาศฟรีค่าธรรมเนียม เหมือนตีกลับ เริ่มหาค่าธรรมเนียมอื่นมาทดแทนได้
BBL กับ KTB ลงไม่เยอะ เริ่มประคองตัวได้
มี SCB ที่ยังไม่เห็นจุดต่ำสุด